Icon Close

การพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม

การพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม
5.00
Icon RatingIcon RatingIcon RatingIcon RatingIcon Rating
1 Rating
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
11 มีนาคม 2562
ความยาว
160 หน้า
ราคาปก
120 บาท (ประหยัด 17%)
การพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม
"ทั่วโลกให้ความสำคัญกับการนำกระบวนการมีส่วนร่วมมาใช้ในการ พัฒนา รวมทั้งประเทศไทยได้ตราการมีส่วนร่วมไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี 2550 หมวดที่ 5 แนวนโยบายพื้นฐานของรัฐ ส่วนที่ 10 แนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ทั้งนี้ เนื่องจากการมีส่วนร่วมช่วยสร้างความเข้มแข็ง และความสามารถพึ่งพาตนเองได้ให้กับประชาชนก่อให้เกิดความยั่งยืนในการพัฒนา ดังนั้นหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่ทำงานร่วมกับประชาชนทั้งในระดับส่วนกลาง ภูมิภาคและท้องถิ่น จำเป็นต้องนำกระบวนการมีส่วนร่วมมาใช้กับประชาชนตั้งแต่ การร่วมกันคิด ร่วมกันตัดสินใจ ร่วมทำ ร่วมประเมินผล จนกระทั่งร่วมรับผลประโยชน์

หนังสือเล่มนี้จะให้ความรู้แก่ผู้อ่านในเรื่องของการพัฒนาและการมีส่วนร่วม ตั้งแต่ทฤษฎีและวิวัฒนาการของการพัฒนา ความหมาย ประเภท ประโยชน์ และเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนการและขั้นตอนของการพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม คุณลักษณะและบทบาทของนักส่งเสริมการเกษตรต่อการเรียนรู้และการทำงานแบบมี ส่วนร่วม และท้ายสุดคือปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม สำหรับความกระจ่างแจ้งและเห็นจริงจะเกิดกับผู้อ่าน เมื่อท่านได้นำไปปฏิบัติเท่านั้น ดังคำกล่าวที่ว่า ""สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นไม่เท่ามือทำ""

การพัฒนาแบบมีส่วนร่วมจะเกิด ขึ้นได้ และประสบความสำเร็จเมื่อคนในชุมชนเป็นผู้เริ่มต้นตระหนักในปัญหาของตนเอง (ทุกข์) รู้ว่าอะไรคือสาเหตุแห่งทุกข์ (สมุทัย) มีความต้องการที่จะดับทุกข์นั้น (นิโรจ) และหาหนทางแก้ไขปัญหา/ดับทุกข์ รวมทั้งดำเนินการดับทุกข์ (มรรค) ด้วยตนเอง คนนอกชุมชนเป็นเพียงผู้จุดประกายและสนับสนุนเมื่อจำเป็นเท่านั้น
ทั่วโลกให้ความสำคัญกับการนำกระบวนการมีส่วนร่วมมาใช้ในการ พัฒนา รวมทั้งประเทศไทยได้ตราการมีส่วนร่วมไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี 2550 หมวดที่ 5 แนวนโยบายพื้นฐานของรัฐ ส่วนที่ 10 แนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ทั้งนี้ เนื่องจากการมีส่วนร่วมช่วยสร้างความเข้มแข็ง และความสามารถพึ่งพาตนเองได้ให้กับประชาชนก่อให้เกิดความยั่งยืนในการพัฒนา ดังนั้นหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่ทำงานร่วมกับประชาชนทั้งในระดับส่วนกลาง ภูมิภาคและท้องถิ่น จำเป็นต้องนำกระบวนการมีส่วนร่วมมาใช้กับประชาชนตั้งแต่ การร่วมกันคิด ร่วมกันตัดสินใจ ร่วมทำ ร่วมประเมินผล จนกระทั่งร่วมรับผลประโยชน์

หนังสือเล่มนี้จะให้ความรู้แก่ผู้อ่านในเรื่องของการพัฒนาและการมีส่วนร่วม ตั้งแต่ทฤษฎีและวิวัฒนาการของการพัฒนา ความหมาย ประเภท ประโยชน์ และเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนการและขั้นตอนของการพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม คุณลักษณะและบทบาทของนักส่งเสริมการเกษตรต่อการเรียนรู้และการทำงานแบบมี ส่วนร่วม และท้ายสุดคือปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม สำหรับความกระจ่างแจ้งและเห็นจริงจะเกิดกับผู้อ่าน เมื่อท่านได้นำไปปฏิบัติเท่านั้น ดังคำกล่าวที่ว่า ""สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นไม่เท่ามือทำ""

การพัฒนาแบบมีส่วนร่วมจะเกิด ขึ้นได้ และประสบความสำเร็จเมื่อคนในชุมชนเป็นผู้เริ่มต้นตระหนักในปัญหาของตนเอง (ทุกข์) รู้ว่าอะไรคือสาเหตุแห่งทุกข์ (สมุทัย) มีความต้องการที่จะดับทุกข์นั้น (นิโรจ) และหาหนทางแก้ไขปัญหา/ดับทุกข์ รวมทั้งดำเนินการดับทุกข์ (มรรค) ด้วยตนเอง คนนอกชุมชนเป็นเพียงผู้จุดประกายและสนับสนุนเมื่อจำเป็นเท่านั้น
ทั่วโลกให้ความสำคัญกับการนำกระบวนการมีส่วนร่วมมาใช้ในการ พัฒนา รวมทั้งประเทศไทยได้ตราการมีส่วนร่วมไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี 2550 หมวดที่ 5 แนวนโยบายพื้นฐานของรัฐ ส่วนที่ 10 แนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ทั้งนี้ เนื่องจากการมีส่วนร่วมช่วยสร้างความเข้มแข็ง และความสามารถพึ่งพาตนเองได้ให้กับประชาชนก่อให้เกิดความยั่งยืนในการพัฒนา ดังนั้นหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่ทำงานร่วมกับประชาชนทั้งในระดับส่วนกลาง ภูมิภาคและท้องถิ่น จำเป็นต้องนำกระบวนการมีส่วนร่วมมาใช้กับประชาชนตั้งแต่ การร่วมกันคิด ร่วมกันตัดสินใจ ร่วมทำ ร่วมประเมินผล จนกระทั่งร่วมรับผลประโยชน์

หนังสือเล่มนี้จะให้ความรู้แก่ผู้อ่านในเรื่องของการพัฒนาและการมีส่วนร่วม ตั้งแต่ทฤษฎีและวิวัฒนาการของการพัฒนา ความหมาย ประเภท ประโยชน์ และเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนการและขั้นตอนของการพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม คุณลักษณะและบทบาทของนักส่งเสริมการเกษตรต่อการเรียนรู้และการทำงานแบบมี ส่วนร่วม และท้ายสุดคือปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม สำหรับความกระจ่างแจ้งและเห็นจริงจะเกิดกับผู้อ่าน เมื่อท่านได้นำไปปฏิบัติเท่านั้น ดังคำกล่าวที่ว่า ""สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น สิบตาเห็นไม่เท่ามือทำ""

การพัฒนาแบบมีส่วนร่วมจะเกิด ขึ้นได้ และประสบความสำเร็จเมื่อคนในชุมชนเป็นผู้เริ่มต้นตระหนักในปัญหาของตนเอง (ทุกข์) รู้ว่าอะไรคือสาเหตุแห่งทุกข์ (สมุทัย) มีความต้องการที่จะดับทุกข์นั้น (นิโรจ) และหาหนทางแก้ไขปัญหา/ดับทุกข์ รวมทั้งดำเนินการดับทุกข์ (มรรค) ด้วยตนเอง คนนอกชุมชนเป็นเพียงผู้จุดประกายและสนับสนุนเมื่อจำเป็นเท่านั้น
"
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
11 มีนาคม 2562
ความยาว
160 หน้า
ราคาปก
120 บาท (ประหยัด 17%)
เขียนรีวิวและให้เรตติ้ง
คุณสามารถล็อกอินเพื่อแสดงความคิดเห็นได้จ้า