Icon Close

3 ขั้นตอน เข้าใจ Microservice Springboot-2

3 ขั้นตอน เข้าใจ Microservice Springboot-2
สำนักพิมพ์HANAGA
หมวดหมู่คอมพิวเตอร์
Icon RatingIcon RatingIcon RatingIcon RatingIcon Rating
No Rating
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
23 กันยายน 2562
ความยาว
87 หน้า
3 ขั้นตอน เข้าใจ Microservice Springboot-2
3 ขั้นตอน เข้าใจ Microservice Springboot-2
Icon RatingIcon RatingIcon RatingIcon RatingIcon Rating
No Rating
ทำไมต้องทำ app หลังบ้าน ให้เป็น microservice?
“หลัก ๆ ก็ เพื่อมันจะได้รับ load ได้เยอะ ๆ จะเพิ่มหรือลดจำนวน service เท่าไหร่ก็ได้”

ชัดเจน!!!… จบ … เลิกอ่าน! ตรึ่งงงง ^^

ว่าด้วยเรื่อง scaling
สมัยก่อน เวลาเราจะ scale app ก็ต้องเพิ่มเครื่อง ลง app server เช่น Tomcat เอา app ไป deploy เพิ่ม set นั่นนี่จนเบื่อ เสร็จแล้วก็เอาพวก load balance ไม่ว่าจะเป็น hardware หรือ software อย่าง NGinX ก็ตาม เพื่อให้มันกระจาย load ไปตามเครื่องเหล่านั้น ค่อนข้างยุ่งยาก และวุ่นวาย

ว่าด้วยเรื่อง maintenance
จะเพิ่ม feature หรือ แก้ bugs บางจุด ไม่ว่าจะจุดเล็ก จุดน้อย ก็ต้อง down ทั้ง app กระทบส่วนงานที่ต้องเรียกใช้ app นี้กันหมด
“น้องแก้ไขเพื่อให้ส่วนงานนั้น ใช้ ทำไมถึงมากระทบส่วนงานพี่ล่าวววววว ???”
หล่อ ไม่เข้าจายยย … (user)

นั่นหล่ะคับ concept ของ microservice ถึงเกิดขึ้นมา เพื่อมาแก้ปัญหาเหล่านี้ และมันก็ได้รับความนิยมสูง ซะด้วยสิ!
ก็แหงหล่ะ ทุกวันนี้คนใช้ app กันหนัก ระบบก็ต้องเก่งพอที่จะ
รองรับการ scaling ได้
Maintain บางส่วน โดยไม่กระทบทุกส่วน ได้

มีข้อดีอีกหลายอย่างที่ไม่ได้พูดถึง เช่น พัฒนาแต่ละ service ด้วยคนละภาษา programming, etc..
อย่างไรก็ดีถึงตรงนี้…เราคงอยากรู้กันหล่ะว่า..มันคืออะไรว๊ะ.. “Microservice”
แล้วอย่าง java นี่เขามี spring framework มายาวนาน พอเกิด trend microservice ขึ้น เขาก็สร้าง springboot ขึ้น เพื่อทำ microservice แล้วมันทำยังไง? ประมาณไหน? ยากกว่าถูบ้านเป่า? (จริง ๆ ถูบ้านยากกว่าหน่อย : )
ประเภทไฟล์
pdf
วันที่วางขาย
23 กันยายน 2562
ความยาว
87 หน้า
เขียนรีวิวและให้เรตติ้ง
คุณสามารถล็อกอินเพื่อแสดงความคิดเห็นได้จ้า